ศูนย์นวัตกรรมทางวิศวกรรมเครื่องกล
ที่มาและความสำคัญ
สืบเนื่องมาจากปัจจุบันมีการแข่งขันอย่างสูงทางด้านเทคโนโลยีในภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในตลาดโลก ตลอดจนการเปิดเสรีทางการค้า ส่งผลให้ประเทศไทยต้องปรับตัวและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของตนเอง ที่ผ่านมาประเทศไทยเป็นผู้นำเข้าเทคโนโลยีและเครื่องจักรเป็นจำนวนมาก ซึ่งบางอย่างมีราคาสูงและไม่เหมาะสม กับการใช้งานในประเทศ โดยที่เทคโนโลยีและเครื่องจักรหลายๆ ชนิดสามารถพัฒนาขึ้นได้ในประเทศไทย
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร7 มหาวิทยาลัยนเรศวร ตระหนักถึงความจำเป็นในการพัฒนา นวัตกรรมเพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาทางด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม จึงได้จัดตั้ง ศูนยนวัตกรรมทางวิศวกรรมเครื่องกล (Innovative Mechanical Engineering Center (i-MechE)) ขึ้นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขันและการพึ่งพาตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันจะส่งผลถึงการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม และ ความอยู่ดีกินดีของคนในสังคม
วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. นวัตกรรมทางด้านเครื่องจักรกลเกษตร กังหันก๊าซ และการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
2. บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ รวมถึงการเผยแพร่ผลงานวิจัยผ่านการประชุมวิชาการ
3. ให้คำปรึกษาและจัดฝBกอบรมทางด้านวิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมพลังงานและการออกแบบทางวิศวกรรมเครื่องกล
แก่ภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สนใจทั่วไป
4. ผลิตมหาบัณฑิตที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านวิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมพลังงานและการออกแบบทาง
วิศวกรรมเครื่องกล
โครงสร้างของศูนย์วิจัย
ศูนย์นวัตกรรมทางวิศวกรรมเครื่องกลเนินงานวิจัยและให้บริการวิชาการใน 4 ด้านหลักๆ ได้แก่
1. การออกแบบ ทดสอบ และจัดการเครื่องจักรกลเกษตร
2. เทคโนโลยีอาคารและการจัดการพลังงานอย่างยั่งยืน
3. เทคโนโลยีกังหันก๊าซ
4. กระบวนการออกแบบอย่างสร้างสรรค์ทางวิศวกรรม
โดยที่กิจกรรมของงานวิจัยทั้ง 4 ด้าน แสดงในแผนผังรูปที่ 1
แผนการดำเนินงานวิจัยและบริการวิชาการในระยะเวลา 5 ปี
แผนการดำเนินงานวิจัยและบริการวิชาการในระยะเวลา 5 ปี
1. การออกแบบ ทดสอบและจัดการเครื่องจักรกลเกษตร |
ลำดับ |
โครงการ |
ระยะเวลาดำเนินการ |
หมายเหตุ |
1 |
โปรแกรมเพื่อการจัดการเครื่องจักรกลเกษตร |
3 ปี |
|
2 |
การปรับปรุงหัวฉีดของเครื่องพ่นสารเคมีแบบสะพายหลัง |
3 ปี |
|
3 |
ผลของความเสียหายของเมล็ดข้าวงอกต่อเปอร์เซ็นต์การงอก |
3 ปี |
|
4 |
การพัฒนาเครื่องโรยเมล็ดข้าว |
3 ปี |
|
2. เทคโนโลยีอาคารและการจัดการพลังงานอย่างยั่งยืน |
ลำดับ |
โครงการ |
ระยะเวลาดำเนินการ |
หมายเหตุ |
1 |
ศึกษาความเป็นไปได้ของการสร้างกระเบื้องหลังคาซีเมนต์ผสมอะลูมิเนียมฟอยล์จากถุงขยะพลาสติก |
1 ปี |
|
2 |
คุณลักษณะทางสมรรถนะของแผ่นทำความเย็นต้นแบบใยมะพร้าว |
2 ปี |
|
3 |
แท่งเชื้อเพลิงเขียวจากเปลือกกล้วย |
2 ปี |
|
4 |
การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงานของเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
1 ปี |
|
5 |
การบริหารจัดการการใช้พลังงานของห้องเรียน อาคารเรียนรวม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
1 ปี |
|
6 |
ออกแบบและสร้างชุดอุปกรณ์ลดการใช้พลังงานของเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนโดยอาศัยน้ำกลั่นตัวจากคอยล์เย็น |
5 ปี |
|
7 |
โครงการอนุรักษ์พลังงานสำหรับโรงงานขนาดเล็ก ( Energy Saving for Small Enterprise : ES for SE ) |
1 ปี |
|
8 |
ปัญหาความชื้นภายในโรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
1 ปี |
|
3. เทคโนโลยีกังหันก๊าซ |
ลำดับ |
โครงการ |
ระยะเวลาดำเนินการ |
หมายเหตุ |
1 |
การศึกษาการถ่ายเทความร้อนของ Swirling Jet กระแทกลงบนพื้นผิวรอยบุ๋ม |
3 ปี |
|
2 |
การศึกษาการถ่ายเทความร้อนของการกระแทกของเจ็ทลงบน
Leading Edge ของใบพัดกังหันรูปทรงต่างๆ |
3 ปี |
|
3 |
เครื่องต้นแบบของเครื่องยนต์กังหันก๊าซขนาดจิ๋ว |
5 ปี |
|
4 |
การศึกษาการไหลผ่านระบบหลอดเลือดที่ซับซ้อน |
5 ปี |
|
5 |
การศึกษาการดูดซึมของยาไปยังระบบการไหลของเลือด |
5 ปี |
|
4. กระบวนการออกแบบอย่างสร้างสรรค์ทางวิศวกรรม |
ลำดับ |
โครงการ |
ระยะเวลาดำเนินการ |
หมายเหตุ |
1 |
การศึกษาปัญหาในการพัฒนาเครื่องจักรกลเกษตร ในจังหวัดพิษณุโลก |
3 ปี |
|
2 |
การศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบของภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดพิษณุโลก |
3 ปี |
|
3 |
การศึกษากระบวนการออกแบบเครื่องเก็บเกี่ยวนวดข้าว |
3 ปี |
|
ความร่วมมือ
หน่วยงานที่มีความร่วมมือ
1. ศูนย์พัฒนาอาชีพการเกษตร จ.พิษณุโลก (จักรกลเกษตร)
2 ศูนย์พัฒนาอาชีพการเกษตร จ.พิษณุโลก (ศูนย์พืชเพาะเลี้ยง)
3 ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว จ.พิษณุโลก
4 ศูนย์วิจัยข้าว จ.พิษณุโลก
5 โรงงาน น.นิตย์ สวรรคโลก จ.สุโขทัย
6 ศูนย์เพาะเห็ด จ.พิษณุโลก
7 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
8 กรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม
9 คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
10 หจก. ศิริวานิช เอสแอนด์ดับเบิ้ลยู
11 วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร
หน่วยงานที่คาดว่าจะมีความร่วมมือ
1 บริษัท เกษตรพัฒนาอุตสาหกรรม จำกัด จ.พิษณุโลก
2 Hybrid and Electric Vehicle Network, Imperial College London
3 IHI Turbo (Thailand), Co., Ltd. (ผ่านทาง Imperial)
ทุนวิจัยที่ได้รับในปัจจุบัน
1 ทุนสนับสนุนงานวิจัยประจำปีงบประมาณ 2552 ของคณะวิศวกรรมศาสตร7 จำนวน 2 ทุน 175,000 บาท
2 ทุนสำนักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ปี 2553 30,000 บาท
3 ทุนโครงการอนุรักษ์พลังงานสำหรับโรงงานขนาดเล็ก ( ES for SE ) กรมโรงงาน กระทรวง
อุตสาหกรรม ปีงบประมาณ 2554 1,000,000 บาท
4 ทุนงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ปี 2550 700,000 บาท
5 ทุนงบประมาณแผ่นดินปี 2548 100,000 บาท
6 ทุนสนับสนุนงานวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวร ปีงบประมาณ 2554 80,000 บาท
แหล่งทุนที่คาดว่าจะขอรับการสนับสนุน
1 มหาวิทยาลัยนเรศวร
2 สภาวิจัยแห่งชาติ
3 กระทรวงพลังงาน
4 German Academic Exchange Service (DAAD)
5 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
6 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลัก (Key Performance Indices)
1. ผลงานเผยแพร่ในรูปบทความวิชาการ
1.1. การตีพิมพ์วารสารระดับชาติ 2 เรื่องต่อปี
1.2. การตีพิมพ์วารสารระดับนานาชาติ 1 เรื่องต่อปี
1.3. การนำเสนอบทความระดับชาติ 2 เรื่องต่อปี
1.4. การนำเสนอบทความระดับนานาชาติ 1 เรื่องต่อ 2 ปี
2. การจัดอบรมบริการวิชาการ ในรอบ 5 ปี 3 ครั้ง
3. มีการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาจำนวน 2 คนในระยะเวลา 5 ปี
ผลการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ของหน่วยวิจัย
1. ผลงานเผยแพร่ในรูแบบบทความวิชาการ
- 1.1 การตีพิมพ์วารสาร ระดับชาติ
ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
- 1. Kanokjaruvijit, K. Puttawong, P., “Dimensional Analysis of Blood Flow Through a Bifurcation," in preparation
- 1.2 การตีพิมพ์วารสาร ระดับนานาชาติ
ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
- 1. ศิษฐ์ภัณฑ์ แคนลา, “การเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างแผ่นทำความเย็นแบบระเหยต้นแบบจากเส้นใยมะพร้าวกับแผ่นเซลล์ลูโลส,” ที่ประชุมเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งชาติครั้งที่ 25, หาดอ่าวนาง จ.กระบี่, 19 – 21 ตุลาคม 2554
- 2. จิรศักดิ์ ศิริโภคารัตนา, กุลยา กนกจารุวิจิตร และภาณุ พุทธวงศ์, “การศึกษาการไหลของเลือดผ่านหลอดเลือดหัวใจด้วยระเบียบวิธีทางไฟไนต์เอลิเมนต์” ที่ประชุมเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งชาติครั้งที่ 25, หาดอ่าวนาง จ.กระบี่, 19 – 21 ตุลาคม 2554
- 1.3 การนำเสนอบทความ ระดับชาติ
ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
1. Suriyea, T. Pornyangyeun, T., Kanokjaruvijit, K. “Study of Incineration of Acacia Wood Chips for Biomass Power Plant of the Royal Thai Navy in Sattahip, Chonbu ri Province, Thailand” in preparation for publication in Journal of Pensee (France).
2. Kanokjaruvijit, K, Liburdy, J.A., and Martinez-Botas, R.F., “Application of Wide-Band Thermochromic Liquid Crystals Heat Transfer of Jet Impingement," in preparation
- การนำเสนอบทความ ระดับชาติ
ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
- 1. Suriyea, T., Pomyangeun T., Kanokaruvijit, K., “Study of incineration of Acacia Wood Chips for Biomass Power Plant of the Royal Thai Navy in Sattahip, Chonburi Province, Thailand" World Academy of Science, Engineering and Technology (WASET) Singapore September 12-13, 2013.
- 2. การจัดอบรมบริการวิชาการ
ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
- 1. โครงการประหยัดพลังงานสำหรับโรงงานขนาดเล็ก (Energy Saving for Small Enterprise: ES for SE) ปีงบประมาณ 2554 ร่วมกับศูนย์วิจัยอุณหภาพ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าธนบุรี – อบรมเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานในโรงงานขนาดเล็กในบริเวณภาคเหนือตอนล่าง
- 3. มีการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา
ผลการดำเนินงาน ณ ปัจจุบัน
1. นายจิรศักดิ์ ศิริโภคารัตนา รหัส 51061710
ผลการดำเนินการอื่น ๆ
-
ปีงบ
ประมาณ |
ชื่อโครงการ |
แหล่งทุน |
งบ
ประมาณ |
สถานภาพในการทำวิจัย |
ผู้ร่วมโครงการ |
หน่วยงาน |
2556 |
การออกแบบอุปกรณ์วัดแรงในแนวแกนและภาคระบิด |
งบประมาณรายได้มหาวิทยาลัยนเรศวร |
110,000 |
อยู่ระหว่างดำเนินการ
(1 พ.ค. 56 – 30 เม.ย. 56) |
- ดร.รัตนา การุญบุญญานันท์
- นายเกดิษฐ์ กวางตระกูล |
- ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล |
2556 |
การออกแบบและพัฒนาเครื่องปลอกเปลือกทุเรียนพันธุ์หลงลับแลแบบกิ่งอัตโนมัติภายใต้แผนงานวิจัยการวิจัยและพัฒนาแบบบูรณาการเพื่อการผลิตทุเรียนพันธุ์หลงลับแลและหลินลับแลเชิงพาณิชย์ |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
425,000 |
อยู่ระหว่างดำเนินการวิจัย
(1 พ.ค. 56 – 30 เม.ย. 56) |
- ดร.รัตนา การุญบุญญานันท์
- ผศ.ดร.พีรศักด์ ฉายประสาท |
- ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
- ภาควิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
2557 |
การวิจัยและพัฒนาเครื่องกำจัดวัชพืชในนาข้าว |
งบประมาณรายได้มหาวิทยาลัยนเรศวร |
132,000 |
อยู่ระหว่างจัดทำสัญญา |
- รศ.ดร.มัทนี สงวนเสริมศรี
- ดร.รัตนา การุญบุญญานันท์ |
- ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล |
2558 |
การประเมินสมรรถนะการทำงานของเครื่องมือเตรียมดินขั้นต้นในนา |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
693,000 |
อยู่ระหว่างการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย |
- ดร.รัตนา การุญบุญญานันท์
- รศ.ดร.มัทนี สงวนเสริมศรี
- นายรัญทศ ย้ายตั้ง |
- ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
- ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก |