Concrete Technology
หน่วยวิจัยด้านเทคโนโลยีคอนกรีต
กรอบงานวิจัย
1. พฤติกรรมการแตกร้าวของวัสดุคอนกรีต
2. การพัฒนาวัสดุต้านทานการแตกร้าว
3. การใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมในงานคอนกรีต
วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
งานวิจัย
งานวิจัย |
หน่วยงานที่สนับสนุน |
งบประมาณรวม |
การศึกษาการคืบตัวแบบดึงของคอนกรีตที่เกิดจากแรงกระทำภายนอกเพื่อทำนายการแตกร้าวของคอนกรีตในช่วงอายุต้น ปีที่ 1 และ 2
|
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยนเรศวร
ประจำปี 2555 และ 2556 |
698,000 บาท |
การศึกษาผลของสารเคมีผสมเพิ่มต่อการหดตัว ของคอนกรีต |
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยนเรศวร
ประจำปี 2557 |
303,300 บาท |
การพัฒนาวิธีทดสอบวัดการแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวของคอนกรีตแบบอัตโนมัติด้วยระบบประมวลผลภาพ |
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ประจำปี 2555 |
477,000 บาท |
การศึกษาการคืบตัวแบบดึงที่เกิดจากการยึดรั้งการหดตัวของคอนกรีต |
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก
ประจำปี 2554 |
424,000 บาท |
การจัดทำมาตรฐานสำหรับการป้องกันการแตกร้าวของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กเนื่องจากการหดตัวของคอนกรีต |
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ประจำปี 2555 |
400,000 บาท |
การพัฒนาแบบจำลองเพื่อทำนายการหดตัวแบบออโตจีนัสและการหดตัวแบบแห้งของคอนกรีต |
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ประจำปี 2553 |
480,000 บาท |
การบริการวิชาการ
โครงการ |
ช่วงเวลา |
โครงการสำรวจ ออกแบบโครงการสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ำในเขตลุ่มน้ำปิงตอนล่าง จ.ตาก และ จ.กำแพงเพชร |
ก.พ. 2556 – พ.ย. 2556 |
โครงการสำรวจ ออกแบบโครงการสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ำในเขตลุ่มน้ำยม จ.แพร่ และ จ.สุโขทัย |
ส.ค. 2556 – มิ.ย. 2557 |
โครงการออกแบบสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร |
- |
วิทยากรโครงการอบรมของสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย ในหัวข้อ “การควบคุม ตรวจสอบ และปัญหาที่พบในงานพื้นและถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก” |
21 ตุลาคม 2556 |
ประสานงานในการจัดการประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 9 |
21-23 ต.ค. 56 |
บุคลากรในหน่วยวิจัย
ความร่วมมือกับหน่วยงานวิจัยภายในและภายนอก
|
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
|
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
|
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
|
มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา |
|
ศูนย์เทคโนโลยีการก่อสร้างและบำรุงรักษา (CONTEC - Collaboration between MTEC and SIIT) |
|
หน่วยวิจัยคอนกรีตป้องกันคลอไรด์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
หน่วยวิจัยคอนกรีตป้องกันซัลเฟต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
ผลงานตีพิมพ์
• สราวุฒิ เพ็งอุ่น, สรัณกร เหมะวิบูลย์, สนธยา ทองอรุณศรี และสมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “อิทธิพลของการบ่มต่อการหดตัวโดยรวมของคอนกรีต” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 9, 21-23 ตุลาคม 2556, พิษณุโลก, pp. MAT128-134
|
• มนตรี คงสุข, สรัณกร เหมะวิบูลย์, สนธยา ทองอรุณศรี และสมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “อิทธิพลของอัตราส่วนน้ำต่อวัสดุประสานต่อการคืบตัวแบบดึงของคอนกรีต” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 9, 21-23 ตุลาคม 2556, พิษณุโลก, pp. MAT135-140
|
• นันธวัฒน์ เบอะเทพ, ธนพล เพ็ญรัตน์, สรัณกร เหมะวิบูลย์ และสนธยา ทองอรุณศรี , (2556) “อิทธิพลของนาโนซิลอก้าประเภทที่ไม่ชอบน้ำ และประเภทที่ชอบน้ำต่อการไหลแผ่ ค่าระยะเวลาการก่อตัว และการขยายตัวเนื่องจากโซเดียมซัลเฟตของซีเมนต์มอร์ต้า” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 9, 21-23 ตุลาคม 2556, พิษณุโลก, pp. MAT213-219
|
• Boethep, N., Phenrat, T., Hemavibool, S., ”Effect of hydrophobic and hydrophilic nano silica on setting time, compressive strength, and acid resistance of cement mortar”,18th National Convention on Civil Engineering, Empress hotel, Chiang Mai, 8-10 May 2013 |
• สนธยา ทองอรุณศรี, สรัณกร เหมะวิบูลย์, พงษ์ศักดิ์ โชคทวีกาญจน์ และสมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “ผลกระทบของเถ้าก้นเตาต่อการหดตัวแบบออโตจีนัสของมอร์ต้าที่ใช้วัสดุประสานร่วมสองชนิด”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, 8-10 พฤษภาคม 2556, เชียงใหม่, MAT37-43
|
• รางวัลบทความยอดเยี่ยมสาขาวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง จากบทความเรื่อง “ผลกระทบของเถ้าก้นเตาต่อการหดตัวแบบออโตจีนัสของมอร์ต้าที่ใช้วัสดุประสานร่วมสองชนิด” การประชุมวิชาการโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 ระหว่างวันที่ 8-10 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรมดิเอ็มเพลส เชียงใหม่
|
• นัฐภรณ์ ดีสูงเนิน, รวิสรา แก้ววิเชียรม ศรันยู หทัยพิชิตชัย, สรัณกร เหมะวิบูลย์, สนธยา ทองอรุณศรี และ สมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “ผลของการใช้เถ้าก้นเตาแทนที่มวลรวมละเอียดต่อสมบัติด้านกำลังของคอนกรีต” การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5, 15 – 16 กรกฎาคม 2556, กรุงเทพมหานครฯ |
• มนตรี คงสุข, สนธยา ทองอรุณศรี, สรัณกร เหมะวิบูลย์ และสมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “ผลของวัสดุประสานต่อพฤติกรรมการแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวของคอนกรีต” การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5, 15 – 16 กรกฎาคม 2556, กรุงเทพมหานครฯ |
• Htun, N. N., Sukchai, S., and Hemavibool, S., “Properties of concrete material for thermal energy storage”,International Conference and Utility Exhibition on: Green Energy for Sustainable Development, Pattaya City, Thailand, 19-21 March 2014. |
• นัฐภรณ์ ดีสูงเนิน, รวิสรา แก้ววิเชียรม ศรันยู หทัยพิชิตชัย, สรัณกร เหมะวิบูลย์, สนธยา ทองอรุณศรี และ สมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “ผลของการใช้เถ้าก้นเตาแทนที่มวลรวมละเอียดต่อสมบัติด้านกำลังของคอนกรีต”, วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร. |
• มนตรี คงสุข, สนธยา ทองอรุณศรี, สรัณกร เหมะวิบูลย์ และสมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “ผลของวัสดุประสานต่อพฤติกรรมการแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวของคอนกรีต” , วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร. |
• อัศวิน คุณาแจ่มจรัส, สนธยา ทองอรุณศรี และ วีระ สังข์นาค, (2556) “การศึกษาผลของอัตราส่วนผสมที่มีต่อสมบัติทางกายภาพของอิฐมอญที่ไม่ผ่านขบวนการเผา” การประชุมวิชาการเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ประจำปี 2556, 27-28 กุมภาพันธ์ 2556, RN-47, 339-348
|
• นุชจิรา ทำมาตา, ทวีชัย สำราญวานิช, สนธยา ทองอรุณศรี และ สมนึก ตั้งเติมสิริกุล, (2556) “ผลกระทบของเถ้าลอยและผงหินปูนต่อสัมประสิทธิ์การแพร่คลอไรด์และกำลังอัดของคอนกรีตที่เผชิญสิ่งแวดล้อมทะเลเป็นเวลา 3 ปี” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, 8-10 พฤษภาคม 2556, เชียงใหม่, MAT22-28 |
• อัศวิน คุณาแจ่มจรัส, รุ่งโรจน์ จักภิระ และสนธยา ทองอรุณศรี, (2556) “การพัฒนาเรือพายคอนกรีตจากคอนกรีตมวลเบา”
การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5, 15 – 16 กรกฎาคม 2556, กรุงเทพมหานครฯ
|
• รุ่งโรจน์ จักภิระ และสนธยา ทองอรุณศรี, (2556) “ผลกระทบของเศษแก้วต่อกำลังอัดและความต้านทานต่อการขัดสีของพื้นหินขัด” การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5, 15 – 16 กรกฎาคม 2556, กรุงเทพมหานครฯ |
• อัศวิน คุณาแจ่มจรัส, รุ่งโรจน์ จักภิระ และสนธยา ทองอรุณศรี, (2556) “การพัฒนาเรือพายคอนกรีตจากคอนกรีตมวลเบา”, วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร. Accepted
|
จำนวนนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา
- นิสิตระดับปริญญาโท 3 คน
- นิสิตระดับปริญญาเอก 1 คน
|
Mailing Address
ห้อง CE 508 ชั้น 5 อาคารวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
99 หมู่ 9 ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000
|